555 Celebration: New Promotion@Big C

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555
หากท่านไม่สามารถอ่านอีเมล์ฉบับนี้ กรุณา คลิกที่นี่ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม
If you experience difficulty viewing this e-mail, please Click here to view more detail.
Issue 20/12: 19 - 28 ต.ค. 55
หน้าหลักบิ๊กซี โปรโมชั่นที่บิ๊กซี สินค้าแนะนำ โบรชัวร์สินค้า ติดต่อเรา
555 Cerebration
หากท่านไม่ต้องการรับอีเมล์ข่าวสารจากบิ๊กซี กรุณา คลิกที่นี่ เพื่อยกเลิกสมาชิก
If you would prefer not to receive any promotional e-mails from Big C, please click here to unsubscribe.
Read more ...

FoSTAT-Public Training การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ "Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555


 


FoSTAT-Public Training

        การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม

อย่างมีประสิทธิภาพ

"Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555


ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน  เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง


จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา  ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด


        โดย ผศ.ดร.ชุติมา  ไวศรายุทธ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์


หัวข้อบรรยาย

·        ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

 

·        ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง

 

·        ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น

          -     การสุ่มอย่างง่าย  / การสุ่มอย่างเป็นระบบ

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)

-     การสุ่มแบบแบ่งชั้น

-     การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

-     การสุ่มแบบหลายขั้นตอน

 

·        การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น

-     การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย

-     การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง

-     การเลือกตัวอย่างแบบโควตา

-     การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่

 

·        การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน

 

·        กรณีศึกษา

 

·        การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)


"Workshop"

การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ


สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบ
สมัครตามเอกสารแนบ

Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...

FoSTAT-Public Training การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ "Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555


 


FoSTAT-Public Training

        การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม

อย่างมีประสิทธิภาพ

"Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555


ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน  เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง


จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา  ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด


        โดย ผศ.ดร.ชุติมา  ไวศรายุทธ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์


หัวข้อบรรยาย

·        ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

 

·        ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง

 

·        ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น

          -     การสุ่มอย่างง่าย  / การสุ่มอย่างเป็นระบบ

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)

-     การสุ่มแบบแบ่งชั้น

-     การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

-     การสุ่มแบบหลายขั้นตอน

 

·        การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น

-     การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย

-     การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง

-     การเลือกตัวอย่างแบบโควตา

-     การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่

 

·        การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน

 

·        กรณีศึกษา

 

·        การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)


"Workshop"

การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ


สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบ
สมัครตามเอกสารแนบ

Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...

FoSTAT Public Training "การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร" "Calibration" วันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.30-16.30 น.

วันพฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2555

FoSTAT
Public Training
 "การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร"
 “Calibration”
วันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2555    เวลา 08.30-16.30 น.


หลักการและขอบเขต

           ปัจจุบันระบบสายการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร ได้มีการพัฒนาในหลายๆ ด้าน ทั้งในด้านกระบวนการวิเคราะห์คุณสมบัติของอาหาร  กระบวนการผลิต ระบบรับรองคุณภาพขององค์กรและกระบวนการควบคุณภาพ ได้มีการยกระดับศักยภาพให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อมุ่งเน้นในด้านของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อองค์กรภายนอก  โดยในด้านของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีปัจจัยหลายอย่างเป็นสิ่งชี้วัดถึงเกณฑ์การยอมรับถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อันได้แก่วัตถุดิบที่นำมาทำ ส่วนผสมที่คงที่ สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม และเครื่องมือวัดที่มีความถูกต้อง เป็นต้น ล้วนแล้วมีความสำคัญต่อผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น
           จากเหตุผลกล่าวมานั้น จะเห็นได้ว่าทุกกระบวนการและปัจจัย จะต้องใช้เครื่องมือวัดเข้าไปทำการวัด ตรวจสอบ ถึงคุณสมบัติที่ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด ในการผลิตเพื่อนำมาสู่ผลผลิตที่มีคุณภาพ และความสำคัญอย่างหนึ่งของเครื่องมือวัดคือ   หากเกิดความผิดพลาดขึ้นกับเครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่ ยิ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นในการผลิตในลักษณะของค่าที่ใช้ในการควบคุม (Specification) เนื่องจากไม่ทราบว่าค่าที่กำหนดขึ้นมานั้นมีความถูกต้องมากน้อยเพียงไร โดยเป็นผลมาจากการใช้เครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาด (Error) และถ้านำเครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาด (Error) มาใช้ในการตรจสอบชิ้นงานในงาน Q.C. จะส่งผลต่อการตัดสินความใช้ได้ในผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมา ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้
            ดังนั้นผู้จัดทำหลักสูตรจึงมองเห็นปัญหาที่มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นกับเครื่องมือวัดจึงจัดทำหลักสูตรการสอบเทียบ เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ ที่ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือวัดที่สำคัญและมีการใช้งานกันอย่างมากในองค์กรอุตสาหกรรม อาหาร และที่จะทำให้ผู้ใช้เครื่องมือวัดสามารถที่จะทราบสภาพเครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่ นั้นคือค่าความผิดพลาด ของเครื่องมือวัดนั้นเอง

 วัตถุประสงค์

            1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสอบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์

            2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถทำการสอบเทียบ เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง

            3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดของการสอบเทียบ

            เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์

            4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ 

หัวข้อการบรรยาย + WORK SHOP

- ความสำคัญในการสอบเทียบ

- คุณลักษณะและการกำหนดเกณฑ์การใช้เครื่องมือวัด 

- ปัจจัยที่ส่งผลต่อความถูกต้องของเครื่องมือวัด


    **การทำความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ

    **หลักการทำงานของ  เครื่องชั่ง


- การสอบเทียบ เครื่องชั่ง

    **Repeatability , Effect off Loading Center , Indication  Error

  

- การประเมินค่าความไม่แน่นอนในกาวัด 
(Uncertainty of Measurement) : Uncertainty in Weighing Machine Calibration

     **ชนิดของความไม่แน่นอนในการวัด

     **การประเมินค่าความไม่นอนในการวัด


- การรายงานผลการสอบเทียบ เครื่องชั่ง

     **ความสำคัญในการสอบเทียบ

     **คุณลักษณะและการกำหนดเกณฑ์การใช้เครื่องมือวัด


- ปัจจัยที่ส่งผลต่อความถูกต้องของเครื่องมือวัด

      ** การทำความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ

      ** หลักการทำงานของ  Thermometer

- การสอบเทียบ Thermometer    

      **Repeatability , Indication  Error

- การประเมินค่าความไม่แน่นอนในกาวัด 
(Uncertainty of Measurement) : Uncertainty in Thermometer Calibration

      **ชนิดของความไม่แน่นอนในการวัด

      **การประเมินค่าความไม่นอนในการวัด

 การรายงานผลการสอบเทียบ Thermometer
สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบสมัครตามเอกสารแนบ
 
Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...

FoSTAT การสอบขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร ครั้งที่2/2555

วันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555
FoSTAT  การสอบขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร ครั้งที่2/2555

ทางสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย มีการจัดการสอบขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์ทางด้านอาหาร ครั้งที่2/2555 ถ้าท่านใดสนใจสามารถสอบรายละเอียดได้ที่ คุณปัทมาสน์ โทร 02-942-8528
หรือดูราละเอียดได้ที่ www.fostat.org รายละเอียดต่างๆมีตามเอกสารแนบค่ะ

สอบ ณ ห้อง อก 5305-6 และ อก 5312 อาคาร 5 ชั้น 3 

คณะอุตสาหกรรมเกษตร  มหทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน)

วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 เวลา 8.30-11.30 น.

--
Best Regards,
Patthamas Sandos
 
Co-ordinator
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
P.O. Box 1043 Kasetsart, Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
Tel  +662 942 8528 ต่อ 106
Fax +662 942 8527
E-mail : cfop@fostat.org 
Website : www.fostat.org
 

Read more ...

FoSTAT Public Training "การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร" "Calibration" วันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.30-16.30 น.

วันอาทิตย์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2555
                            FoSTAT
Public Training
 "การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร"
 “Calibration”
                             วันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2555    เวลา 08.30-16.30 น.


หลักการขอบเขต

           ปัจจุบันระบบสายการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร ได้มีการพัฒนาในหลายๆ ด้าน ทั้งในด้านกระบวนการวิเคราะห์คุณสมบัติของอาหาร  กระบวนการผลิต ระบบรับรองคุณภาพขององค์กรและกระบวนการควบคุณภาพ ได้มีการยกระดับศักยภาพให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อมุ่งเน้นในด้านของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อองค์กรภายนอก  โดยในด้านของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีปัจจัยหลายอย่างเป็นสิ่งชี้วัดถึงเกณฑ์การยอมรับถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อันได้แก่วัตถุดิบที่นำมาทำ ส่วนผสมที่คงที่ สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม และเครื่องมือวัดที่มีความถูกต้อง เป็นต้น ล้วนแล้วมีความสำคัญต่อผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น
           จากเหตุผลกล่าวมานั้น จะเห็นได้ว่าทุกกระบวนการและปัจจัย จะต้องใช้เครื่องมือวัดเข้าไปทำการวัด ตรวจสอบ ถึงคุณสมบัติที่ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด ในการผลิตเพื่อนำมาสู่ผลผลิตที่มีคุณภาพ และความสำคัญอย่างหนึ่งของเครื่องมือวัดคือ   หากเกิดความผิดพลาดขึ้นกับเครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่ ยิ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นในการผลิตในลักษณะของค่าที่ใช้ในการควบคุม (Specification) เนื่องจากไม่ทราบว่าค่าที่กำหนดขึ้นมานั้นมีความถูกต้องมากน้อยเพียงไร โดยเป็นผลมาจากการใช้เครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาด (Error) และถ้านำเครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาด (Error) มาใช้ในการตรจสอบชิ้นงานในงาน Q.C. จะส่งผลต่อการตัดสินความใช้ได้ในผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมา ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้
            ดังนั้นผู้จัดทำหลักสูตรจึงมองเห็นปัญหาที่มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นกับเครื่องมือวัดจึงจัดทำหลักสูตรการสอบเทียบ เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ ที่ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือวัดที่สำคัญและมีการใช้งานกันอย่างมากในองค์กรอุตสาหกรรม อาหาร และที่จะทำให้ผู้ใช้เครื่องมือวัดสามารถที่จะทราบสภาพเครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่ นั้นคือค่าความผิดพลาด ของเครื่องมือวัดนั้นเอง

 วัตถุประสงค์

            1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสอบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์

            2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถทำการสอบเทียบ เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง

            3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดของการสอบเทียบ

            เครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์

            4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ 

หัวข้อการบรรยาย + WORK SHOP

-ความสำคัญในการสอบเทียบ

- คุณลักษณะและการกำหนดเกณฑ์การใช้เครื่องมือวัด 

-ปัจจัยที่ส่งผลต่อความถูกต้องของเครื่องมือวัด

    **การทำความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ

    **หลักการทำงานของ  เครื่องชั่ง


การสอบเทียบ เครื่องชั่ง

    **Repeatability , Effect off Loading Center , Indication  Error

  

การประเมินค่าความไม่แน่นอนในกาวัด (Uncertainty of Measurement) : Uncertainty in Weighing Machine Calibration

     **ชนิดของความไม่แน่นอนในการวัด

     **การประเมินค่าความไม่นอนในการวัด


การรายงานผลการสอบเทียบ เครื่องชั่ง

     **ความสำคัญในการสอบเทียบ

     **คุณลักษณะและการกำหนดเกณฑ์การใช้เครื่องมือวัด


 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความถูกต้องของเครื่องมือวัด

      ** การทำความเข้าใจในใบรายงานผลการสอบเทียบ

      ** หลักการทำงานของ  Thermometer

การสอบเทียบ Thermometer    

      **Repeatability , Indication  Error

การประเมินค่าความไม่แน่นอนในกาวัด (Uncertainty of Measurement) : Uncertainty in Thermometer Calibration

      **ชนิดของความไม่แน่นอนในการวัด

      **การประเมินค่าความไม่นอนในการวัด

การรายงานผลการสอบเทียบ Thermometer
สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบสมัครตามเอกสารแนบ
 
Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...