If you experience difficulty viewing this e-mail, please to view more detail.
| |||||
|
If you would prefer not to receive any promotional e-mails from Big C, please click here to unsubscribe.
| |||||
|
FoSTAT-Public Training
การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ
"Sampling Plan รุ่นที่ 2"
วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555
ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง
จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดย ผศ.ดร.ชุติมา ไวศรายุทธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์
หัวข้อบรรยาย
· ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง
· แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
· ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง
· ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง
· การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น
- การสุ่มอย่างง่าย / การสุ่มอย่างเป็นระบบ
· การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)
- การสุ่มแบบแบ่งชั้น
- การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
- การสุ่มแบบหลายขั้นตอน
· การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น
- การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย
- การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
- การเลือกตัวอย่างแบบโควตา
- การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่
· การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร
· การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร
· เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง
· ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน
· กรณีศึกษา
· การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)
"Workshop"
การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ
FoSTAT-Public Training
การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ
"Sampling Plan รุ่นที่ 2"
วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555
ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง
จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดย ผศ.ดร.ชุติมา ไวศรายุทธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์
หัวข้อบรรยาย
· ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง
· แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
· ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง
· ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง
· การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น
- การสุ่มอย่างง่าย / การสุ่มอย่างเป็นระบบ
· การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)
- การสุ่มแบบแบ่งชั้น
- การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
- การสุ่มแบบหลายขั้นตอน
· การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น
- การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย
- การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
- การเลือกตัวอย่างแบบโควตา
- การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่
· การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร
· การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร
· เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง
· ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน
· กรณีศึกษา
· การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)
"Workshop"
การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ
"การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร"
ทางสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย มีการจัดการสอบขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์ทางด้านอาหาร ครั้งที่2/2555 ถ้าท่านใดสนใจสามารถสอบรายละเอียดได้ที่ คุณปัทมาสน์ โทร 02-942-8528
หรือดูราละเอียดได้ที่ www.fostat.org รายละเอียดต่างๆมีตามเอกสารแนบค่ะสอบ ณ ห้อง อก 5305-6 และ อก 5312 อาคาร 5 ชั้น 3
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน)
วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 เวลา 8.30-11.30 น.
"การสอบเทียบเครื่องชั่ง และเทอร์โมมิเตอร์ในอุตสาหกรรมอาหาร"