FoSTAT-Public Training "การลดโอกาสปนเปื้อนอันตรายในอุตสาหกรรมอาหาร"วันที่ 31 มค. - 1 กพ. 2556 (เวลา 08.30-16.30) ภายในงาน FOOD PACK ASIA 2013 ณ.ไบเทค บางนา

วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555






 FoSTAT
Public Training

"การลดโอกาสปนเปื้อนอันตรายในอุตสาหกรรมอาหาร"

วันที่ 31 มค. - 1 กพ. 2556 (เวลา 08.30-16.30)
ภายในงาน FOOD PACK ASIA 2013 ณ.ไบเทค บางนา
 
หลักการและเหตุผล
            เนื่องจากการผลิตอาหารในระดับอุตสาหกรรม  เป็นการผลิตสินค้าในปริมาณมาก  จึงทำให้มีโอกาสเกิดการปนเปื้อนของอันตรายทั้ง 3 ด้าน คือด้านกายภาพ, เคมี  และ ชีวภาพ ในอาหาร  และยังมีปัจจัยหลายๆ อย่าง
ที่เป็นสาเหตุให้อาหารเกิดการปนเปื้อนได้
            การสร้างความเชื่อมั่นด้านคุณภาพและความปลอดภัยให้กับสินค้าอาหาร เป็นกุญแจสำคัญที่ผลักดันให้สินค้ามีศักยภาพด้านการแข่งขันในเวทีการค้า ซึ่งความปลอดภัยของอาหารนั้นสำคัญต่อผู้บริโภคเป็นอย่างมาก โดยสังเกตุได้จากเหตุการณ์เกี่ยวกับเรื่องอาหารไม่ปลอดภัยในแต่ละครั้งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ดังนั้นทางสมาคมฯ จึงเล็งเห็นความจำเป็นในการจัดสัมมนาเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ  
เรื่องการลดโอกาสที่จะเกิดการปนเปื้อนของอันตรายในอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหาร และผู้ที่ต้องการศึกษาเพื่อการแปรรูปอาหาร  มีความรู้ ความเข้าใจ ในการลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ในกระบวนการผลิตอาหารได้
 
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
ผู้ประกอบการแปรรูปอาหาร ผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร  อาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา ที่มีความสนใจในด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
 
โปรแกรมสัมมนา
 

เวลา

วันที่  31 มกราคม  2556

วิทยากร

08:30 –  09:00

ลงทะเบียน

09.00 - 12.00

Break10.30 – 10.45 .

อันตรายทางด้านเคมี

-แหล่งที่มา / ชนิดของอันตรายด้านเคมี

-การลดอันตรายด้านเคมี  ในกระบวนการควบคุมยาฆ่าแมลง, ยาปฏิชีวนะ, สารHistamine, โลหะหนัก ,Food additive

คุณพิศาล พงศาพิชณ์

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

(มกอช)

12.00 – 13.00

พักรับประทานอาหาร

13.00 - 16.00

Break15.00 – 15.15 .

อันตรายทางด้านชีวภาพ

-แหล่งที่มา / ชนิดของอันตรายด้านเชื้อจุลินทรีย์

-มาตรการในการควบคุมการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในสายการผลิตอาหาร

 

ผศ.ดร. สุวิมล กีรติพิบูล

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

16.00-16.30

ถาม-ตอบ

เวลา

วันที่ 1 กุมภาพันธ์  2556

วิทยากร

08.30 - 09.00

ลงทะเบียน

 

09.00 – 10.45

 

Break10.45 – 11.00 .

อันตรายทางด้านกายภาพ

-การลดอันตรายด้านกายภาพในกระบวนการตรวจสอบด้วย เครื่อง Metal Detector, เครื่อง X ray

-เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบคุณภาพในการตรวจจับโลหะที่มีประสิทธิภาพ

 

คุณสรณรงค์ ทองพาศน์

บริษัทเมทเล่อร์โทเลโด

(ประเทศไทย) จำกัด

 

11.00 - 12.00

-การควบคุมการปนเปื้อนFood allergen ในโรงงาน

คุณนิรันดร์ เหลาพนัสสัก

สมาคม FoSTAT

12.00 - 13.00

พักรับประทานอาหาร

13.00 - 16.00

 

Break15.00 – 15.15 .

หลักการและวิธีทดสอบการปนเปื้อนทางด้านเคมี ในอาหารด้วยวิธีรวดเร็ว

*ชุดทดสอบยาฆ่าแมลงตกค้าง 4 กลุ่ม

*ยาปฏิชีวนะตกค้าง

*สาร Histamine  

* โลหะหนัก    

* วัตถุกันเสีย

* Swab TEST 

*  Coliform ในน้ำ

การสาธิตตัวอย่างชุดทดสอบ

คุณปนัดดา ซิลวา

กรมวิทยาศาสตร์

การแพทย์

 

16.00-16.30

ถาม ตอบ / ปิดการสัมมนา

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบสมัครตามเอกสารแนบ
 
THANK  YOU
FoSTAT  STAFF
 
 
 
 
Read more ...

FoSTAT-Food Safety Forum # 57 "เรื่อง Primary GMP สร้างความเชื่อมั่นและพร้อมรับ AEC "

วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

FoSTAT

Food Safety Forum # 57

"เรื่อง Primary GMP สร้างความเชื่อมั่นและพร้อมรับ AEC "

วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555  (08.30 น.-16.00 น)

ณ. อาคารสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

....................................

วิทยากร  คุณกัลยาณี  ดีประเสริฐวงศ์

นักวิชาการอาหารและยาชำนาญการพิเศษ



หลักการและเหตุผล

                      กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการยกระดับมาตรฐานการผลิตอาหาร ซึ่งเป็นอาหารแปรรูปพร้อมจำหน่าย ให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและภายนอกประเทศ

 พร้อมก้าวเข้าสู่การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558  จึงได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2555 

เรื่อง วิธีการผลิต   เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) กำหนดให้ผู้ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายต้องปฏิบัติตาม

และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 343) พ.ศ.2555 เรื่อง ฉลาก (ฉบับที่ 3)  กำหนดให้อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายที่ผ่านมาตรฐาน Primary GMP

สามารถแสดงเลขสารบบอาหาร (เลข อย.) ได้ ซึ่งจะมีผลบังคับใช้กับผู้ประกอบการฯ รายใหม่ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 และให้เวลาผู้ประกอบการฯ รายเก่าในการพัฒนา 

ปรับปรุงสถานที่ผลิตให้เป็นไปตามข้อกำหนด 3 ปี

                      ทั้งนี้  เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯ ทางสมาคมฯ จึงได้จัดการอบรมสัมมนาผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย

ตามหลักเกณฑ์ Primary GMP เพื่อให้ผู้ประกอบการ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ Primary GMP ได้อย่างถูกต้อง


กำหนดการ

เวลา

หัวข้อการบรรยาย

08.30 –09.00

ลงทะเบียน  และรับเอกสาร

09.00 – 10.40

- ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย  (ฉบับที่๓๔๒)         พ.ศ.๒๕๕๕

- ความแตกต่างระหว่าง Primary GMP & GMP

- ใครบ้างที่ต้องเกี่ยวข้องกับ Primary GMP

10.40 – 11.00

พักรับประทานอาหารว่าง

11.00 – 12.00

รายละเอียดข้อกำหนดและวิธีการตรวจประเมิน

1. สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง & อาคารผลิต

2. เครื่องมือ เครื่องจักร & อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

12.00 – 13.00

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 15.00

3. การควบคุมกระบวนการผลิต

4. การสุขาภิบาล

5. การบำรุงรักษา & ทำความสะอาด

6. บุคคลากร

15.00 – 15.30

ถาม – ตอบ

15.30  16.00

จบการเสวนา / รับประทานอาหารว่าง


สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม >>ใบสมัครตามเอกสารแนบ
หรือรายละเอียด www.fostat.org



-- 
Best Regards,
Meena  Rattanamoong
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 # 107
Fax +662 9428527
Email Seminar@fostat.org

Read more ...

555 Celebration: New Promotion@Big C

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555
หากท่านไม่สามารถอ่านอีเมล์ฉบับนี้ กรุณา คลิกที่นี่ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม
If you experience difficulty viewing this e-mail, please Click here to view more detail.
Issue 20/12: 19 - 28 ต.ค. 55
หน้าหลักบิ๊กซี โปรโมชั่นที่บิ๊กซี สินค้าแนะนำ โบรชัวร์สินค้า ติดต่อเรา
555 Cerebration
หากท่านไม่ต้องการรับอีเมล์ข่าวสารจากบิ๊กซี กรุณา คลิกที่นี่ เพื่อยกเลิกสมาชิก
If you would prefer not to receive any promotional e-mails from Big C, please click here to unsubscribe.
Read more ...

FoSTAT-Public Training การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ "Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555


 


FoSTAT-Public Training

        การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม

อย่างมีประสิทธิภาพ

"Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555


ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน  เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง


จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา  ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด


        โดย ผศ.ดร.ชุติมา  ไวศรายุทธ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์


หัวข้อบรรยาย

·        ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

 

·        ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง

 

·        ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น

          -     การสุ่มอย่างง่าย  / การสุ่มอย่างเป็นระบบ

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)

-     การสุ่มแบบแบ่งชั้น

-     การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

-     การสุ่มแบบหลายขั้นตอน

 

·        การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น

-     การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย

-     การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง

-     การเลือกตัวอย่างแบบโควตา

-     การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่

 

·        การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน

 

·        กรณีศึกษา

 

·        การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)


"Workshop"

การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ


สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบ
สมัครตามเอกสารแนบ

Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...

FoSTAT-Public Training การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ "Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2555


 


FoSTAT-Public Training

        การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรม

อย่างมีประสิทธิภาพ

"Sampling Plan รุ่นที่ 2"

วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2555


ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการแข่งขันในด้านการค้าสูง การดูแลเรื่องคุณภาพจึงเป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการแข่งขัน  เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์หรือบริการ แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด วิธีการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นวิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ดังนั้นการเลือกวิธีการการสุ่มตัวอย่าง(Sampling) ที่ถูกต้องเหมาะสมจะทำให้ค่าที่ได้จากการตรวจวิเคราะห์มีประสิทธิภาพ และใช้ผลวัดความน่าจะเป็นในการเกิดความผิดปกติและอันตรายในผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าอุตสาหกรรมอาหารของไทยมักมีปัญหาเรื่องการสุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกแผนการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงเทคนิคการป้องกันการปนเปื้อนจากกระบวนการสุ่มตัวอย่าง


จากเหตุผลดังกล่าว สมาคมฯ จึงได้จัดให้มีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "การพัฒนาระบบการเก็บตัวอย่างอาหารในระดับอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ" เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวกับภาคอุตสาหกรรมอาหารของไทย และใช้เป็นแนวทางในการจัดการกับผลิตภัณฑ์และสินค้าของเราอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประหยัด เวลา  ค่าใช้จ่าย และพนักงาน ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้กับองค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด


        โดย ผศ.ดร.ชุติมา  ไวศรายุทธ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์


หัวข้อบรรยาย

·        ความสำคัญในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        แนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

 

·        ค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง

 

·        ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น

          -     การสุ่มอย่างง่าย  / การสุ่มอย่างเป็นระบบ

 

·        การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (ต่อ)

-     การสุ่มแบบแบ่งชั้น

-     การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

-     การสุ่มแบบหลายขั้นตอน

 

·        การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น

-     การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย

-     การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง

-     การเลือกตัวอย่างแบบโควตา

-     การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่

 

·        การวางแผนในการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        การวิเคราะห์ผลการสุ่มตัวอย่างในอุตสาหกรรมอาหาร

 

·        เครื่องมือที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง

 

·        ปัญหาที่พบในการสุ่มตัวอย่าง การแก้ไขและป้องกัน

 

·        กรณีศึกษา

 

·        การจัดตั้งวิธีตรวจสอบระบบภายใน (internal monitoring system)


"Workshop"

การสุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ


สนใจสมัครเข้าฝึกอบรม รายละเอียดติดต่อและใบ
สมัครตามเอกสารแนบ

Best Regards,
FoSTAT Staff
Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT)
Room 722, Institute of Food Research and Product Development Bld.
Kasetsart, Chatuchak, Bangkok,10900  THAILAND
Tel. +662 9428528 
Fax +662 9428527
Read more ...